Featured post
เรียนภาษาไทย-ติวO-NETสังคม :"โซเชียล เน็ตเวิร์ก" ช่วยพัฒนาการเรียนการสอน
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
"โซเชียล เน็ตเวิร์ก" ช่วยพัฒนาการเรียนการสอน
ทุกวันนี้คำว่า "เว็บไซต์ โซเชียล เน็ตเวิร์ก" หรือ "เครือข่ายสังคมออนไลน์" ไม่ใช่คำใหม่ในสังคมอีกแล้ว โดยเฉพาะในยุคที่เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ทำให้โลกปัจจุบันกลายเป็นโลกที่ไร้พรมแดนไปแล้ว
ทว่า การเข้ามาของเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ก็เป็นเสมือน "ดาบสองคม" ที่มีทั้งด้านดี และด้านเสีย ขึ้นอยู่กับว่า ผู้ใช้จะนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเกิดโทษแก่ตัวเอง
ในด้านการพัฒนาการศึกษาโดยอาศัยประโยชน์จากเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นทุกวัน "โซเชียล เน็ตเวิร์ก" ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่จะทำให้ครูผู้สอน และนักเรียนใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น นอกเหนือจากเวลาที่อยู่ในห้องเรียน
ดังเช่นที่ "คณะกรรมการด้านการศึกษา" ของรัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐฯ เพิ่งจะมีมติไปเมื่อสัปดาห์ก่อน ในการเห็นชอบที่จะกำหนดนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม เกี่ยวกับการนำเอา "โชเชียล เน็ตเวิร์ก" มาใช้ในฐานะเครื่องมือการเรียนการสอน
ยกตัวอย่างในกรณีของ "เฟชบุ๊ก" หรือ "มาย สเปช" เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ยอดนิยม ซึ่งทางคณะกรรมการฯ เล็งเห็นว่า แทนที่บรรดาเด็กนักเรียนจะอาศัยเว็บไซต์เครือข่ายฯ เหล่านี้ ในการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือใช้เป็นพื้นที่ในการบอกกล่าวความรู้สึกของตนต่อคนรอบข้างเพียงอย่างเดียว แต่แอพลิเคชั่น หรือฟังก์ชั่นต่างๆ ของเว็บไซต์เหล่านี้ ยังสามารถเชื่อมโยงพวกเขากับสถาบันการศึกษา หรืออาจารย์ผู้สอนได้ด้วย เช่น การสั่งรายงาน ส่งการบ้าน หรือแม้กระทั่งแจ้งเตือนเกี่ยวกับวันเวลาสอบ เป็นต้น
...ขณะเดียวกัน การที่ครูเข้ามาอยู่ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถเปิดโอกาสให้ผู้ใหญ่ได้เป็นหูเป็นตา ในการสอดส่องดูแลผู้ไม่ประสงค์ดีที่อาศัยช่องทางการติดต่อสื่อสารไร้พรมแดนนี้ เข้ามาสร้างความเสียหาย หรือก่อภัยคุกคาม โดยเฉพาะอาชญากรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศแก่พวกเด็กๆ ได้ ดังที่มีข่าวครึกดครมอยู่บ่อยๆ กรณีของ "คิมิยะ ฮากิกิ" นักเรียนสาววัย 17 ปี ที่กำลังศึกษาในระดับเกรด 11 ของโรงเรียนแลงเลย์ ไฮสคูล ก็อีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
โดยก่อนหน้านี้เธอมีปัญหาเกี่ยวกับการเขียนเช่นเดียวกับนักเรียนส่วนใหญ่ในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษของ "อ.อูเบรย์ ลุดวิก" ทว่าครูผู้สอนของเธอได้แนะนำให้เธอ และเพื่อนในชั้นเรียนใช้ "ทวิตเตอร์" ส่งข้อความหากัน แล้วผลที่ออกมาก็เป็นที่น่าพอใจ เมื่อปัญหาการเขียนที่เคยเยิ่นเย้อ และประณีตเกินไปก่อนหน้าได้รับการแก้ไข อันเป็นผลจากการ "ทวิต" ข้อความซึ่งมีการจำกัดอักขระอยู่ที่ไม่เกิน 140 ตัวอักษรต่อครั้งเท่านั้นนั่นเอง
ทว่า การเข้ามาของเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ก็เป็นเสมือน "ดาบสองคม" ที่มีทั้งด้านดี และด้านเสีย ขึ้นอยู่กับว่า ผู้ใช้จะนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเกิดโทษแก่ตัวเอง
ในด้านการพัฒนาการศึกษาโดยอาศัยประโยชน์จากเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นทุกวัน "โซเชียล เน็ตเวิร์ก" ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่จะทำให้ครูผู้สอน และนักเรียนใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น นอกเหนือจากเวลาที่อยู่ในห้องเรียน
ดังเช่นที่ "คณะกรรมการด้านการศึกษา" ของรัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐฯ เพิ่งจะมีมติไปเมื่อสัปดาห์ก่อน ในการเห็นชอบที่จะกำหนดนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม เกี่ยวกับการนำเอา "โชเชียล เน็ตเวิร์ก" มาใช้ในฐานะเครื่องมือการเรียนการสอน
ยกตัวอย่างในกรณีของ "เฟชบุ๊ก" หรือ "มาย สเปช" เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ยอดนิยม ซึ่งทางคณะกรรมการฯ เล็งเห็นว่า แทนที่บรรดาเด็กนักเรียนจะอาศัยเว็บไซต์เครือข่ายฯ เหล่านี้ ในการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือใช้เป็นพื้นที่ในการบอกกล่าวความรู้สึกของตนต่อคนรอบข้างเพียงอย่างเดียว แต่แอพลิเคชั่น หรือฟังก์ชั่นต่างๆ ของเว็บไซต์เหล่านี้ ยังสามารถเชื่อมโยงพวกเขากับสถาบันการศึกษา หรืออาจารย์ผู้สอนได้ด้วย เช่น การสั่งรายงาน ส่งการบ้าน หรือแม้กระทั่งแจ้งเตือนเกี่ยวกับวันเวลาสอบ เป็นต้น
...ขณะเดียวกัน การที่ครูเข้ามาอยู่ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถเปิดโอกาสให้ผู้ใหญ่ได้เป็นหูเป็นตา ในการสอดส่องดูแลผู้ไม่ประสงค์ดีที่อาศัยช่องทางการติดต่อสื่อสารไร้พรมแดนนี้ เข้ามาสร้างความเสียหาย หรือก่อภัยคุกคาม โดยเฉพาะอาชญากรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศแก่พวกเด็กๆ ได้ ดังที่มีข่าวครึกดครมอยู่บ่อยๆ กรณีของ "คิมิยะ ฮากิกิ" นักเรียนสาววัย 17 ปี ที่กำลังศึกษาในระดับเกรด 11 ของโรงเรียนแลงเลย์ ไฮสคูล ก็อีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
โดยก่อนหน้านี้เธอมีปัญหาเกี่ยวกับการเขียนเช่นเดียวกับนักเรียนส่วนใหญ่ในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษของ "อ.อูเบรย์ ลุดวิก" ทว่าครูผู้สอนของเธอได้แนะนำให้เธอ และเพื่อนในชั้นเรียนใช้ "ทวิตเตอร์" ส่งข้อความหากัน แล้วผลที่ออกมาก็เป็นที่น่าพอใจ เมื่อปัญหาการเขียนที่เคยเยิ่นเย้อ และประณีตเกินไปก่อนหน้าได้รับการแก้ไข อันเป็นผลจากการ "ทวิต" ข้อความซึ่งมีการจำกัดอักขระอยู่ที่ไม่เกิน 140 ตัวอักษรต่อครั้งเท่านั้นนั่นเอง
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้
ดาวน์โหลด"มานะมานี" แจกไฟล์ตำราเรียนฟรี
ดาวน์โหลด"มานะมานี" แจกไฟล์ตำราเรียนฟรี สวัสดีครับทุกท่าน ปัญหาการอ่านเขียนไม่คล่องของเด็กและเยาวชนของเรานับวันยิ่งมีปัญหาทวีความรุนแรงขึ้น เรื่อย ๆ จนน่ากลัว การแก้ไขปัญหาภาษาไทยนี้ อาจจะไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ ของหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการศึกษาเสียแล้วครับ เมื่อหลายท่าน ทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ มีความเห็นตรงกันว่า จะปล่อยปะละเลยต่อปัญหานี้ ก็คงจะไม่ใช่เรื่องที่ดี วันนี้ ครูเดชจึงได้นำไฟล์ตำราเรียน ที่แสนจะวิเศษ และผมเองกล้าการันตรีว่า หากนักเรียน หรือ ผู้ที่มีปัญหาภาษาไทย ได้ตั้งใจอ่าน ตั้งใจทำความเข้าใจ จะสามารถพัฒนาภาษาไทยไปได้อย่างดีเยี่ยมเลยครับ "มานะ มานี" นอกจากจะเป็นตำราภาษาไทย ที่คนที่มีอายุหลายท่านได้สัมผัสเรียนรู้ในวิชาภาษาไทยมาแล้ว ท่านจะทราบว่าตำราเรียนเล่มนี้ ไม่ได้มีแต่ความรู้ภาษาไทย อย่างเดียวไม่ หากแต่มีความน่าสนุก น่าสนใจ และความตื้นเต้น กลวิธีนี้เองล่ะครับ ที่ผมเห็นว่า เป็นอุบายล่อให้เด็กสนใจตำราเรียนได้เป็นอย่างดี ความสนุก ความเพลิดเพลิน เมื่อนักเรียนอ่านจบเล่ม ตัวละครก็จบชั้นเดียวกัน เมื่อเลื่อนชั้น นักเรี...
แจกฟรีแบบฝึกหัดภาษาไทยมานะมานี ป.1
แจกฟรี แบบฝึกหัดภาษาไทยใช่ควบคู่กับตำรามานะมานี ป. 1 คลิกที่ลิงก์เพื่อดาวน์โหลดครับ แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 1-5 แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 6-10 แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 11-15 แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 16-20 แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 21-25 แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 26-30 แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 31-35 อยู่ในขณะจัดทำ แบบฝึกหัด มานะมานีบทที่ 36-40 อยู่ในขณะจัดทำ เรียนออนไลน์ เรียนภาษาไทยออนไลน์ เรียนอ่านเขียนภาษาไทยออนไลน์ หาครูสอนภาษาไทยออนไลน์ หาครูสอนภาษาไทยที่ออสเตรเลีย หาครูสอนภาษาไทยที่ญี่ปุ่น หาครูสอนภาษาไทยที่เวียดนาม หาครูสอนภาษาไทยที่อเมริกา หาครูสอนภาษาไทยที่เยอรมัน หาครูสอนภาษาไทยที่ฝรั่งเศส Learn Thai with native speakers. หาครูสอนภาษาไทยอ่านเขียน สอนอ่านหนังสือภาษาไทย สอนอ่านเขียน ลูกอ่านภาษาไทยไม่ออก หาครูแก้ไขภาษาไทย สถาบันสอนภาษาไทย โรงเรียนสอนภาษาไทย หาครูสอนภาษาไทยนานาชาติ หาครูสอนภาษาไทยลูกครึ่ง หาครูสอ...
กทม. 6 โซน : เพื่อวางแผนเส้นทางการสอนสำหรับติวเตอร์
ให้ติวเตอร์ใช้เขตพื้นที่เหล่านี้ เพื่อระบุพื้นที่ที่ท่านสามารถเดินทางไปสอนได้สะดวกครับ ศูนย์จะแจ้งงานให้ท่านทราบตามพื้นที่การเดินทางที่ท่านสะดวกครับ โปรดแจ้งตามความสะดวกจริง เพื่อความรวดเร็วในการรับงานสอนนะครับ 1.กลุ่มกรุงเทพกลาง ประกอบด้วย เขตพระนคร ดุสิต ป้อมปราบศัตรูพ่าย สัมพันธวงศ์ ดินแดง ห้วยขวาง พญาไท ราชเทวี และวังทองหลาง 2.กลุ่มกรุงเทพใต้ ประกอบด้วย เขตปทุมวัน บางรัก สาทร บางคอแหลม ยานนาวา คลองเตย วัฒนา พระโขนง สวนหลวง และบางนา 3. กลุ่มกรุงเทพเหนือ ประกอบด้วย เขตจตุจักร บางซื่อ ลาดพร้าว หลักสี่ ดอนเมือง สายไหม และบางเขน 4.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก ประกอบด้วย เขตบางกะปิ สะพานสูง บึงกุ่ม คันนายาว ลาดกระบัง มีนบุรี หนองจอก คลองสามวาและประเวศ 5.กลุ่มกรุงธนเหนือ ประกอบด้วย เขตธนบุรี คลองสาน จอมทอง บางกอกใหญ่ บางกอกน้อย บางพลัด ตลิ่งชันและทวีวัฒนา 6.กลุ่มกรุงธนใต้ ประกอบด้วย เขตภาษีเจริญ บางแค หนองแขม บางขุนเทียน บางบอน ราษฎร์บูรณะและทุ่งครุ เรียนออนไลน์ เรียนภาษาไทยออนไลน์ เรียนอ่านเขียนภาษาไทยออนไลน์ หาครูสอนภาษาไทยออนไลน์ หา...