Featured post

เรียนภาษาไทย-ติวO-NETสังคม : หน้าที่พลเมือง : สังคมวิทยา

ติวO-NET สังคม ฟรี : หน้าที่พลเมือง :สังคมวิทยา

ความรู้ O-NET วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หน่วย หน้าที่พลเมือง 


__________________________________________________________________________________________


คำอธิบาย  ความรู้ทั้งหมดนี้ นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การสอน และการเตรียมความพร้อมในการสอบแข่งขันอื่น ๆ ได้ ตามความเหมาะสม หรือ ท่านครูอาจารย์ที่จัดเตรียมเนื้อหาไม่ทันก็ยังสามารถนำเนื้อหานี้ไปใช้ได้ตามความเหมาะสมครับ

คำขอร้อง : เนื่องจากเนื้อหาทั้งหมดนี้ ครูเดชเป็นผู้รวบรวมและเรียบเรียง ประกอบด้วยการนำความรู้มาแยกวิเคราะห์เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจได้ง่าย โดยที่ทำเพื่อมุ่งหวังให้เป็นประโยชน์สูงสุดในการเปิดโอกาสทางการศึกษาสำหรับนักเรียนที่สามารถเข้าถึงระบบอินเทอเน็ตได้ แต่ห่างไกล ได้ใช้ประโยชน์ จึงใคร่ขอความกรุณาท่านที่สนใจจะนำไปใช้ในเว็บไซต์ เว็บบล็อก หรือ เผยแผ่ ในสื่ออนไลน์ โดยใส่เคดิตที่มาด้วยนะครับ


ทั้งนี้ขอเรียนแจ้งว่า ผู้รวบรวมและเรียบเรียงไม่อนุญาตให้นำข้อมูลไปเพื่อผลกำไร ยกแต่ได้ขออนุญาตจากผู้เรียบเรียงแล้วเท่านั้น ครับ

ติดต่อครูเดชเรื่องลิขสิทธิ์ หรือ เชิญติวกวดวิชานอกสถานที่  084-014-7717 ,094-070-7114
__________________________________________________________________________________________

นักเรียนสามารถชมคลิปความรู้ได้จากคลิปด้านล่างนี้ครับ  นักเรียนจะได้รับความรู้ที่ครูเดชสรุปข้อมูลมาไว้ให้อย่างครบถ้วนและสนุกสนานครับ หรือจะเปิดคลิปพร้อมกับอ่านข้อมูลทวบทวนไปด้วยก็ได้ครับ 






หน้าที่พลเมือง สังคมวิทยา
โครงสร้างทางสังคม ความหมายโดยแท้จริงแล้ว มีความหมายว่า ระบบความสัมพันธ์ของบุคคลภายในสังคม โดยมุ่งให้สังคมมีความสงบและเรียบร้อย โดย แบ่งเป็น ส่วนคือ
-กลุ่มสังคม
-สถาบันสังคม  และ
-การจัดระเบียบทางสังคม

-กลุ่มสังคม หรือ สังคมมนุษย์ คือกลุ่มของบุคคลตั้งแต่ คนขึ้นไป มีความสัมพันธ์ในด้าน เชื้อชาติอายุ วัฒนธรรม เป็นต้น  นอกจากนี้แล้วกลุ่มสังคมคมยังแบ่งออกเป็น ส่วน คือ ปฐมภูมิ และทุติยภูมิ  หากเป็นแบบปฐมภูมินั้น คือ กลุ่มสังคมที่มีความใกล้ชิด สนิทสนม มีความสัมพันธืแบบเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ส่วนแบบทุติยภูมินั้น คือความสัมพันธ์แบบทางการ หรือ ความสัมพันธ์แบบห่างเหิน ไม่ใกล้ชิดครับ



-สถาบันทางสังคม คือ แบบแผนและความสัมพันธ์เพื่อให้สังคมอยู่มั่งคง

หน้าที่ของสถาบันของสังคม
-สนองความต้องการของสังคม  เช่นสถาบันการศึกษาให้การเรียนรู้
-เป็นแหล่งปะทะสังสรรค์    
-เพื่อรักษาและธำรงไว้       เป็นเครื่องมือในการควบคุมทางสังคม โดยใช้ระเบียบแบบแผนของสถานบัน ให้เกิดความสงบเรียบร้อย


ประเภทสถาบันทางสังคม
-สถาบันครอบครัว              การอบรวมสั่งสอนโดยบิดามารดา
-สถาบันการศึกษา               การศึกษา การอบรมคุณธรรมจริยธรรม
-สถานบันศาสนา                หลักธรรม ที่พึ่งทางจิตใจ หลักการดำเนินชีวิต
-สถาบันเศรษฐกิจ               การบริโภค สินค้าและบริการ
-สถาบันการปกครอง          กฎหมาย ระเบียบ ความปลอดภัย

การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมนั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะให้สังคมมีความสงบและเรียบร้อย เกิดความสันติสุข แต่บุคคลในชุมชนจะไม่สามารถทำให้สังคมมีสิ่งเหล่านี้ได้เลย หากไม่ปฏิบัติเพื่อให้เกิดระเบียบทางสังคม  ดังนั้น การที่จะให้เกิดสิ่งที่สังคมต้องการคือ ความสงบ สันติสุข และเรียบร้อย ผู้ที่อยู่ในสังคมต้องรู้จัก สถานภาพ บทบาท บรรทัดฐาน ค่านิยม และการควบคุมทางสังคม


---------------------------------------------------------------------------------------------- 
สถานภาพ และบทบาท
สถานภาพ คือ ตำแหน่งที่คนนั้น ๆ เป็น

สถานภาพมี แบบ คือ 1)ติดตัวมาแต่เกิด  2) ได้มาทีหลัง

สถานภาพติดตัวมาแต่เกิด  แบ่งเป็นสังคมกำหนดและธรรมชาติกำหนด
สังคมกำหนด -เป็นพี่ชาย น้องชาย -เชื้อชาติ  -ถิ่นกำเนิด
ธรรมชาติ   เพศหญิง เพศชาย เอกลักษณ์ทางร่างกาย

สถานภาพที่ได้มาทีหลัง แบ่งเป็น            -จากความสามารถ เช่น ช่างไฟฟ้า
                                                                                -จากความรู้  เช่น ครู หมอ นักบัญชี
                                                                                -จากครอบครัว เช่น บิดา มารดา
                                                                                -จากอาชีพ            เช่น พนักงาน ตำรวจ
                                                                                -จากการสมรส     เช่น สามี ภรรยา โสด หม้าย

บทบาท คือ การปฏิบัติตามสิทธิและหน้าที่ของสถานภาพของตน  เช่น ครูเดชมีบทบาทเป็นลูกของแม่ เมื่ออยู่ที่บ้าน  มีสิทธิแห่งการเป็นลูกที่ต้องดูแลแม่ มีบทบาทและหน้าที่เป็นครูต่อศิษย์ 

คนหนึ่งคน มีหลายบทบาทและหน้าที่ได้ แต่ใจสำคัญคือ ต้องปฏิบัติบทบาทและหน้าที่นั้นให้ถูกต้องและเหมาะสม


หน้าที่ คือ สิ่งที่ควรปฏิบัติ  ทั้งสิ่งที่ควรทำ หรือ ควรงดเว้น 


ทริปชวนจำ ! บทบาทคือการเป็น เป็นลูก เป็นสามี เป็นนักเรียน เป็นครู
                        หน้าที่ คือ การทำ  
                         จำไว้บทบาทคือการเป็น   To be  หน้าที่ คือ การทำ To do


---------------------------------------------------------------------------------------------- 
บรรทัดฐาน คือ กฎเกณฑ์ ระเบียบที่สังคมวางไว้ให้แก่สมาชิกปฏิบัติ
ความสำคัญ ช่วยควบคุมความสัมพันธ์ เครื่องมือควบคุมพฤติกรรม
ประเภท                1) วิถีชาวบ้าน       2) จารีตประเพณี และ      3)กฎหมาย

วิถีชาวบ้าน  คือ สิ่งทำจนเคยชิน ไม่มีข้อบังคับว่าต้องทำ แต่สังคมเห็นว่าควรทำ ไม่มีการบังคับ หากทำผิดไม่ได้รับการลงโทษ แต่อาจจะถูกนินทา แต่บางครั้งก็เป็นเพียงกระแสนิยมชั่วเวลาหนึ่ง เช่นการคลั่งไคล้ดารา ได้แก่ -สมัยนิยม     -การคลั่งไคล้        -งานพิธี-พิธีกรรม                -มารยาท



ยกตัวอย่าง  เด็กชายสุรเดช นั่งไชว้ห้างในขณะที่นั่งอยู่ร่วมกับคุณน้าที่กลับมาจากต่างประเทศ  ภายหลังเมื่อเด็กชายสุรเดช ไปแล้ว คุณน้าจึงกล่าวติเตียนภายหลัง ว่าทำตัวไม่เหมาะสม ทำให้เด็กชายสุรเดช ถูกคุณแม่ดุและลงโทษ
จากตัวอย่างนักเรียนจะเห็นได้ว่า เป็นบรรทัดฐานของสังคมในด้านของวิถีชาวบ้าน ที่ไม่มีการบังคับมากเท่าไร แต่มีผลต่อการอยู่รวมกับผู้อื่น เพราะหากไม่ปฏิบัติแล้ว อาจจะทำให้ไม่สามารถเข้าสังคม หรือ ถูก -     ติเตียน นินทา ได้

จารีตประเพณี  หรือกฎศีลธรรมจรรยา  คือ กฎเกณฑ์ที่เคร่งครัดกว่า มักเป็นเรื่องเกี่ยวกับความดีความชั่ว ข้อบังคับ ข้อห้าม ศีลธรรมอันดี  ผู้ฝ่าฝืนจะได้รับการลงโทษทางสังคม
เช่น ห้ามแต่งงานระหว่างพี่น้อง    ต้องกตัญญูต่อบิดามารดา  

กฎหมาย   คือ ข้อบังคับของรัฐที่ใช้บังคับความประพฤติของบุคคลให้ทำหรือไม่ทำ  ผู้ฝ่าฝืนมีโทษตามที่กฎหมายกำหนดไว้กฎหมายคือ บรรทัดฐานทางสังคมขั้นสุดท้าย

แต่สังคมไม่สามารถสงบได้ด้วยกฎหมายเพียงอย่างเดียว วีถีชาวบ้านและจารีต มีความสำคัญมากกว่า

สรุปใจความสำคัญ
·       วิถีประชาชน ไม่เคร่งครัด ไม่มีการลงโทษชัดเจน ลงโทษทางสังคม เช่นนินทา การติเตียน เน้นเรื่องมารยาท พิธีกรรม ความนิยม เช่นนิยมใส่เสื้อดำในงานศพ เป็นต้น วิถีชาวบ้าน ทำจนเป็นนิสัย มารยาททางสังคม ความนิยม เป็นสิ่งที่ควรกระทำ เช่นการกิน การไหว้ ทรงผม แต่งกาย  หากไม่ทำตามถูกนินทา เยาะเย้ย ดูถูก

·       จารีต  คิดถึงศีลธรรม  ถูกลงโทษจากสังคมรุนแรงกว่าวีดีประชาเช่น ประชาทัณฑ์ เลิกคบค้าสมาคม เพราะสังคมใช้ศีลธรรมเป็นกฎที่สำคัญ เน้นศีลธรรมที่ทำให้สังคมสงบสุข เช่นความกตัญญู  จารีตการแต่งงาน ที่ไม่แต่งพี่น้อง  หรือ กรณีการทำปิตุฆาต มาตุฆาต (ฆ่าบิดามารดา) ก็จะถูกจารีต หรือ กฎศีลธรรมลงโทษก่อน คือ ผู้กระทำถูกผลักออกจากสังคม

·      
กฎหมาย กฎลายลักษณ์ ที่มีบทลงโทษที่ชัดเจน ยกตัวอย่างกรณีของจารีต เมื่อผู้กระทำถูกกฎจารีต หรือศีลธรรม ลงโทษแล้ว กฎหมายจะเข้ามาเกี่ยวข้อง

กฎหมาย มีบทลงโทษที่ชัดเจน แต่กฎศีลธรรม จารีต จะใช้ได้ผลดีกว่า เพราะมีการควบคุมโดยคนในสังคมเอง แม้ไม่มีกฎกติกาที่ตายตัว แต่เมื่อผู้ใดกระทำผิด จารีตจะลงโทษด้วยสายตา หรือ การผลัดออกจากสังคม


---------------------------------------------------------------------------------------------- 
ค่านิยม
ค่านิยม คือ ความนิยมยึดถือเป็นแนวทาง เป็นพื้นฐานที่สำคัญของบรรทัดฐานทางสังคม มีผลต่อพฤติกรรม ส่งผลทั้งเจริญและเสื่อม
ค่านิยม คือความนิยมของสังคม  รสนิยม คือความนิยมรายบุคคล
ค่านิยมมีทั้งดีและไม่ดี เช่น ค่านิยมความกตัญญู ความมีน้ำใจ  ค่านิยมสินค้าหรูหรา เป็นต้น

ทริปชวนจำ    ครอบครัวของเดชอยู่ในชุมชนชาวจีน เดชและครอบครัวจึงมีค่านิยมการกิน การดำเนินชีวิตแบบคนจีน คือ กินข้าวด้วยตะเกียบ  และไหว้เจ้าเมื่อมีเทศกาล  แต่เดช ชอบกินข้าวด้วยช้อนส้อม
ครอบครัวของเดช กินข้าวด้วยตะเกียบ เป็นค่านิยม เพราะทำตามสังคม หรือ สังคมนิยมในสิ่งนั้น ๆ ในที่นี้คือ สังคมชาวจีน
เดชชอบกินข้าวด้วยช้อนส้อม เป็นรสนิยม เพราะเป็นความชอบส่วนบุคคล


---------------------------------------------------------------------------------------------- 
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม   
องค์ประกอบเด่นของสังคมไทย และลักษณะ

-สังคมชนบท มีความสัมพันธ์แบบใกล้ชิด พึ่งพาอาศัย ความเป็นพวกพ้อง ครอบครัวแบบขยายเป็นสังคมเกษตร ขนาดชุมชนไม่ซับซ้อน ยึดมั่นในวัฒนธรรม  อยู่อย่างเรียบง่าย (เรียกอีกอย่างว่า สังคมปฐมภูมิ)

-สังคมเมือง ประชากรอยู่หนาแน่น ไม่มีความใกล้ชิด มุ่งผลประโยชน์  ครอบครัวเดี่ยว  ความสัมพันธ์เป็นทางการ ชุมชนซับซ้อน คล้อยตามตะวันตก มีการเคลื่อนย้ายตลอดเวลา (เรียกอีกอย่างว่า สังคมทุติยภูมิ)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม  ระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคมเปลี่ยนแปลง ทำให้โครงสร้างหน้าที่เปลี่ยน เช่นชุมชนใหญ่ขึ้น ความใกล้ชิดของคนในสังคมน้อยลง  สตรีได้รับสิทธิมากขึ้น สตรีมีบทบาทที่เพิ่มสูงขึ้น มีความเท่าเทียมกับเพศชาย

การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม  ความสัมพันธ์บุคคล สิ่งของ หรือ แนวความคิด ความเชื่อ เปลี่ยนแปลง  เช่นความเชื่อในวิทยาศาสตร์ที่เพิ่มขึ้น ชาวนาหันมาใช้เครื่องจักร

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของไทยปัจจุบัน การรับแนวคิดตะวันตก ทำให้สิทธิของชายหญิงเท่าเทียมมากขึ้น ความผูกพันของครอบครัวน้อยลง ความมั่งคงทางครอบครัว การหย่าร้างมากขึ้น

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
-ภายใน   การเพิ่มประชากร  สภาพอากาศ   การเพิ่มของประชากรและภาวะแห้งแล้ว ทำให้เกิดการแย่งงาน และสิ้นหวังในการทำเกษตรกรรม นำมาสู่การอพยพเข้ามาในเมือง เพื่อเป็นแรงงานให้แก่ระบบอุตสาห -กรรม
-ภายนอก รับวิทยาการตะวันตก เทคโนโลยี  สื่อสาร คมนาคมจากต่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงแบบมีระบบ   แผนพัฒนา ฯ (ฉ.1 ปี 2504)

ปัญหาสังคม เกิดขึ้นจากมนุษย์ในสังคม ที่สร้างความไม่สบายใจ สบายกาย เดือดร้อน และความไม่ปลอดภัยแก่คนในสังคม 
-เป็นการกระทำที่ส่งผลเสีย
-มีผลกระทบต่อสังคมและบรรทัดฐานทางสังคม ส่วนใหญ่
-มีการหาหนทางแก้ไข เช่น ปัญหาโสเภณี วัยรุ่น ยาเสพติด

-ไม่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ น้ำท่วม แผ่นดินไหว 



ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี ติวสอบโอเน็ต สอบเข้ามหาลัย เตรียมสอบเข้า ม.1  เตรียมสอบ O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี   เรียนโอเน็ตสังคม    ข้อสอบโอเน็ตสังคม  ข้อสอบโอเน็ต   โหลดข้อสอบ O-NET  หาครูสอนโอเน็ตฟรี หาที่เรียนโอเน็ต O-NET คืออะไร   แนวข้อสอบ   เตรียมสอบ    ติวออนไลน์ฟรี  เรียนออนไลน์สังคมฟรี  เรียนออนไลน์  ครูเดช สังคมครูเดช เรียนพิเศษครูเดช ติวสังคมครูเดช ครูเดช สุรเดชภาพันธ์ O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติวO-NETฟรี  O-NETสังคม O-NETสังคม   ติ

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ดาวน์โหลด"มานะมานี" แจกไฟล์ตำราเรียนฟรี

กทม. 6 โซน : เพื่อวางแผนเส้นทางการสอนสำหรับติวเตอร์

แจกฟรีแบบฝึกหัดภาษาไทยมานะมานี ป.1